PHARMA NEWS


ฉบับประจำวันที่ 1 ธันวาคม  2557



ข่าวจากกลุ่มงานเภสัชกรรม


เปลี่ยนแปลงรายการยาในโรงพยาบาล


1. Ciprofloxacin Injection


เปลี่ยนบริษัทจัดซื้อยา เป็นยาที่ผลิตโดยบริษัท Fresenius Kabi India Pvt.Limited
ชื่อสามัญทางยา : Ciprofloxacin
ความแรง :  ในยา 1 ขวด มีตัวยา ciprofloxacin 0.2 g.
ลักษณะยา : เป็นยาน้ำใส สีขาว ขนาด 100 ml.บรรจุในขวดพลาสติก
ข้อบ่งใช้ : รักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย




2. Erythromycin tablet


เปลี่ยนบริษัทจัดซื้อยา เป็นยาที่ผลิตโดยบริษัท ชุมชนเภสัชกรรม จำกัด(มหาชน)
ชื่อสามัญทางยา : Erythromycin 
ความแรง :  ในยา 1 เม็ด มีตัวยา Erythromycin 250 mg.
ลักษณะยา : เป็นยาเม็ดกลม สีชมพูเข้ม
ข้อบ่งใช้ : รักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย






3. Amlodipine tablet


เปลี่ยนบริษัทจัดซื้อยา เป็นยาที่ผลิตโดยองค์การเภสัชกรรม
ชื่อการค้า : AMBES  ®
ชื่อสามัญทางยา : Amlodipine Besylate
ความแรง :  ในยา 1 เม็ด มีตัวยา Amlodipine 5 mg.
ลักษณะยา : เป็นยาเม็ดสีขาว บรรจุในแผง แผงละ 10 เม็ด
ข้อบ่งใช้ : รักษาโรคความดันโลหิตสูง





3. Amlodipine tablet


เปลี่ยนบริษัทจัดซื้อยา เป็นยาที่ผลิตโดยองค์การเภสัชกรรม
ชื่อการค้า : LOSARTAN GPO  ®
ชื่อสามัญทางยา : Losartan potassium
ความแรง :  ในยา 1 เม็ด มีตัวยา Losartan Potassium  50 mg.
ลักษณะยา : เป็นยาเม็ดสีขาว บรรจุในแผง แผงละ 15 เม็ด
ข้อบ่งใช้ : รักษาโรคความดันโลหิตสูง




 


ผลการดำเนินงาน การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา

ปีงบประมาณ 2557


          จากการที่กลุ่มงานเภสัชกรรม ได้ติดตามอาการไม่พึงประสงค์ จากการใช้ยา ในปีงบประมาณ 2557  จึงขอนำเสนอผลการดำเนินงานต่อเนื่องจาก วารสาร PHARMA NEWS ฉบับประจำวันที่ 16 พฤศจิกายน  2557 ดังนี้


ผลการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยา ADR type A ปีงบ 2557


แพ้รายใหม่
ประวัติ
ลำดับ
ชื่อยา
อาการที่พบ
ลำดับ
ชื่อยา
อาการที่พบ
1

ENALAPRIL
cough
1
ENALAPRIL
AMLODIPINE
cough
Peripheral edema
2
AMLODIPINE
Peripheral edema
2
TRAMADOL
N/V, FATIQUE
3
STAVUDINE
lipodystrophy
3
SIMVASTATIN
HCTZ
LFT increase
hypoNa, hypoK
4
SIMVASTATIN
LFT increase
4
GABAPENTIN
dizziness
5
TRAMADOL
N/V
5
METFORMIN
GI discomfort


          ผลกระทบที่เกิดกับผู้ป่วย ตามระดับความรุนแรง ตามเกณฑ์ ของ NCC MERP พบว่า เป็นระดับ E มากที่สุด ดังกราฟ





          ความหมายของผลกระทบตามเกณฑ์ ของ NCC MERP

ระดับ E  คือ   มีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้น และเป็นอันตรายต่อผู้ป่วยเพียงชั่วคราว รวมถึงต้องได้รับการ  
                       รักษาหรือแก้ไข
ระดับ F คือ    มีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้น และเป็นอันตรายต่อผู้ป่วยเพียงชั่วคราว รวมถึงจำเป็นต้องได้
                       รับการรักษาในโรงพยาบาลหรือ ยืดระยะเวลาในการรักษาตัวในโรงพยาบาลออกไป
ระดับ H คือ    มีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้น และเป็นอันตรายต่อผู้ป่วยจนเกือบถึงแก่ชีวิต (เช่น แพ้ยาแบบ 
                        anaphylaxis )


 หน่วยงานที่มีการรายงานอาการไม่พึงประสงค์ มากที่สุด ทั้งแผนกผู้ป่วยนอก และผู้ป่วยใน ได้แก่ แผนกอายุรกรรม ดังตาราง


หอผู้ป่วยที่แจ้งการติดตามอาการไม่พึงประสงค์ทางยาของผู้ป่วยใน ปีงบ 2557


แพ้รายใหม่
ประวัติ
ลำดับ
หอผู้ป่วย
จำนวน
%
หอผู้ป่วย
จำนวน
%
1
อายุรกรรมชาย 8 
29
15.68
อายุรกรรมชาย 8 
41
12.81
2
กุมารเวชกรรม
25
13.51
อายุรกรรมชาย 7
24
12.19
3
อายุรกรรมชาย 7
18
9.73
กุมารเวชกรรม
22
6.88
4
อายุรกรรมหญิง 5
14
7.57
ศัลยกรรมกระดูก, ตา
20
6.25
5
อายุรกรรมหญิง 6
11
5.95
สูติ-นรีเวช
19
5.94
6
ศัลยกรรมกระดูก
10
5.41
พสธ.6 (พิเศษสูติ-นรีฯ),
18
5.63
7
พสธ.8 (พิเศษอายุรกรรม)
9
4.86
อายุรกรรมหญิง 5
17
5.31
8
ศญ. (ศัลยกรรมหญิง), พสธ. 5 (พิเศษเด็ก)
7
3.78
พสธ.8 (พิเศษอายุรกรรม)
14
4.38
9
ตา
6
3.24
ศอ.7 , ภปร.ล่าง
12
3.75
10
สูติ-นรี, พสธ.7, ICU med, สดย3, สดย4
5
2.70
ศท.8, ศญ.
11
3.44
11
ICU ped. , สงฆ์, ศท.8
4
2.16
สดย.4, พสธ. 7 (พิเศษศัลย์)
10
3.13
12
ศอ.7, ภปร.บน
3
1.62
อญ.6
9
2.81
13
ICU surg., พสธ.6 (พิเศษสูติ), ห้องคลอด
1
0.54
พสธ. 5 (พิเศษเด็ก), ภปร.บน
6
1.88
14



สงฆ์
4
1.25
15



ICU med, ICU surg.
3
0.94

 หน่วยงานผู้ป่วยนอก ที่แจ้งการติดตามอาการไม่พึงประสงค์ทางยาของผู้ป่วยนอก  ปีงบ 2557


แพ้รายใหม่
ประวัติ
ลำดับ
หน่วยงานผู้ป่วยนอก
จำนวน
%
หน่วยงานผู้ป่วยนอก
จำนวน
%
1
OPD อายุรกรรม
201
54.77
OPD อายุรกรรม
477
36.92
2
ห้องตรวจ ประกันสังคม
81
22.07
ห้องตรวจ ประกันสังคม
384
29.72
3
ER
39
10.62
ER
105
8.13
4
OPD กระดูก
20
5.45
OPD กระดูก
98
7.59
5
OPD ศัลยกรรม
8
2.18
OPD ตา
70
5.42
6
OPD เด็ก
3
0.82
OPD ศัลยกรรม
61
4.72
7
คลินิกพิเศษนอกเวลา
2
0.54
OPD สูติ-นรีเวช, OPD จิตเวช
17
1.32
8
OPD จิตเวช
1
0.27
OPD เด็ก, คลินิกพิเศษนอกเวลา
16
1.24

          กลุ่มงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลพุทธโสธร ขอขอบคุณ หน่วยงานต่างๆ ที่ได้มีการรายงาน อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา  เพื่อก่อให้เกิดความปลอดภัยในการรับบริการของผู้ป่วย


 ทบทวนความเสี่ยง เพื่อการแก้ไขเชิงระบบ

พบรายงานความเสี่ยง ในการจ่ายยา เป็นความเสี่ยงในการจ่ายยาผิดชนิด  เกิดจากคู่ยาที่มีชื่อยาที่คล้ายกัน  ( Sound Alike)

1.  สั่งยา  Mebendazole syrup  จ่ายยาเป็น Metronidazile inj.





2. สั่งยา Ceftazidime  injection จ่ายยาเป็น Cefazolin injection








3.สั่งยา Methyl cobal จ่ายยาเป็น Methyldopa




          
          ความเสี่ยงที่เกิดขึ้น สามารถป้องกันได้ ก่อนที่จะถึงตัวผู้ป่วย หอผู้ป่วยเป็นผู้ตรวจสอบพบ และแจ้งกลับมาที่กลุ่มงานเภสัชกรรมเพื่อแก้ไข ได้มีการจัดการระบบ เพื่อป้องกันการเกิดซ้ำดังน้
1. นำยาที่เกิดความคลาดเคลื่อน จัดเข้าในบัญชีความเสี่ยง ยา LASA ของกลุ่มงานเภสัชกรรม
2. ทบทวน แจ้งให้บุคคลากร ระวังในทุกขบวนการก่อนที่จ่ายยา
3. จัดวางคู่ยาที่มักจะจัดผิดบ่อย ให้ห่างกัน
4. ติดตามการเกิดซ้ำ เพื่อวางระบบในการป้องกันต่อไป





ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

16 february 2015

มกราคม 2560